Change Language:  ภาษาไทย

CONTACT INFORMATION
RESEARCH INTEREST
EDUCATION
SELECTED PUBLICATION
ดูคณาจารย์ทั้งหมด

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารุต สุขสมจิตร

Asst. Prof. Dr. Marut Suksomjita

Curriculum Vitae (CV)

ข้อมูลติดต่อ (CONTACT INFORMATION)
  อาคาร LC-3 ชั้น 2
0-2564-4480 ต่อ
marut37@tu.ac.th
หัวข้อวิจัยที่สนใจ (RESEARCH INTEREST)
  • Marine Water Quality Monitoring
  • Phytoplankton Physiology
  • Organic Matter Characterization by 3D EEM fluorescence spectroscopy
  • Nutrient Role in the Coastal Environment
  • Red Tides
การศึกษา (EDUCATION)
  • Ph.D. (Coastal Oceanography), Ehime University, Japan
  • M.Sc. (Agriculture), Kagawa University, Japan
  • วท.ม. (เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วท.บ. (ประมง), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลงานเด่น (SELECTED PUBLICATION)
  • Suksomjit M., Ichimi K., Hamada K., Tada K., Yamada M., Harrison P. J. (2009) Ammonium accelerates the growth rate of Skeletonema spp. in the phytoplankton assemblage in a heavily eutrophic embayment, Dokai Bay, Japan. La mer, 47, 89-101.
  •  Suksomjit M., Nagao S., Ichimi K., Yamada T., Tada K. (2009) Variation of Dissolved Organic Matter and Fluorescence Characteristics before, during and after   phytoplankton Bloom. Journal of Oceanography, 65, 835-846.
  •  Suksomjit M., Tada K., Ichimi K., Montani S. (2009) High tolerance of phytoplankton for extremely high ammonium concentration in the eutrophic coastal water of  Dokai Bay (Japan). La mer, 47, 75-88.
  •  Suksomjit M., Asahi T.,Ichimi K., Yamaguchi H. and K. Tada(2011) Three-dimensional fluorescence characteristic of released dissolved organic matter by Phytoplankton, Heterosigmaand Chaetocerospresented in the International Workshop on Asian  Field Science Network III Field science toward resolution of environmental and food  problems in Southeast Asia, Japan.
  •  Tada K., Suksomjit M., Ichimi K., Funaki Y., Montani S., Yamada M., Harrison P. J. (2009) Diatom Grow Faster Using Ammonium in Rapidly Flushed Eutrophic Dokai Bay, Japan. Journal of Oceanography, 65, 885-891.
  •  พรศรี มิ่งขวัญ มารุต สุขสมจิตร จุฑามาศ รัตติกาลสุขะ และอนุพันธ์ อิฐรัตน์ (2555) โลหะหนักและสารเคมีที่ใช้ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ชนิดที่มีคลอรีนในสิ่งแวดล้อมทางทะเลที่ได้รับอิทธิพลจากสถานการณ์อุทกภัย ปี2554. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล 2555. หน้า 241-252.
  •  พรศรี มิ่งขวัญ มารุต สุขสมจิตร และสุภกิจ จิ๋วเจริญ (2555) การประเมินคุณภาพตะกอนดินในอ่าวไทยตอนในหลังสถานการณ์อุทกภัยปี2554. ส่วนแหล่งน้ำทะเล สำนักจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ
  •  ชนชนก อรุณเลิศ สุภกิจ จิ๋วเจริญ และมารุต สุขสมจิตร (2557) การสืบหาแหล่งที่มาของสารอินทรีย์ละลายน้ำ  บริเวณอ่าวประดู่และบริเวณใกล้เคียงนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยเทคนิค 3D  EEM Fluorescence Spectroscopy. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล ครั้งที่ 4,  หน้า 189.
  •  มารุต สุขสมจิตร ไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน และกฤติฏิ์สุดา ภู่นาค (2559) การศึกษาคุณลักษณะของสารอินทรีย์ละลายน้ำในแม่น้ำแม่กลองโดยใช้เทคนิค Fluorescence spectroscopy. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 54. หน้า 1131-1138.
  •  มารุต สุขสมจิตร และไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน (2559) คุณลักษณะของสารอินทรีย์ละลายน้ำจากอาหารกุ้ง และปุ๋ยคอกโดยใช้เทคนิคฟลูออเรสเซนส์สเปคโตรสโคปี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 24 หน้า 423-431.
  • ณัชชา สุพวานิชและมารุต สุขสมจิตร (2561) การเปลี่ยนแปลงปริมาณและรูปแบบของฟอสฟอรัสละลายน้ำ ในอ่าวไทยตอนใน. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 56. หน้า 913-920.
  •  กุลกานต์ ช่วยบำรุงและมารุต สุขสมจิตร (2561) ปริมาณและรูปแบบของฟอสฟอรัสที่ปลดปล่อยจากการชะละลายของใบไม้จากต้นแสมขาว. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 56. หน้า 968-975.
  •  มารุต สุขสมจิตร พาฝัน อภิปริญญาและไตรเทพ วิชย์โกวิทเทน (2561) การศึกษาคุณลักษณะของน้ำทะเลปนเปื้อนน้ำมัน เมื่อผ่านกระบวนการแปรสภาพน้ำมันด้วยเทคนิค Fluorescence Excitation-Emission Matrix Spectroscopy. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 26 หน้า 1107-1115.
Skip to content